วัดโบสถ์บนบางคูเวียง
วัดโบสถ์บนบางคูเวียง ประวัติความเป็นมาของวัดโบสถ์บน สถานที่สำคัญของหลวงปู่วัดปากน้ำ ...
ถาม-ตอบ ธุดงค์ธรรมชัย
คำถาม คำตอบ ข้อสงสัยเกี่ยวกับธุดงค์ธรรมชัย ไขข้อข้องใจโครงการธุดงค์ธรรมชัย เช่น การเดินธุดงค์เบียดเบียนคนอื่นบาป ผิดหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า, มาอีกแล้ว event ทำไมต้องเดินธุดงค์กันทุกปี,ถ้าไม่มีดอกดาวรวยจะเข้ามาร่วมงานได้ไหม? มีจำหน่ายหรือไม่
วิธีปลูกดอกดาวรวย ข้อมูลการเดินธุดงค์ฯ พร้อมคำอธิษฐานจิต
ไม่ใช่เรื่องธรรมดาเลยที่เราจะช่วยกันสร้างเส้นทางสายทองคำเพื่อการเดินธุดงค์ธรรมชัย ในเส้นทางมาหาปูชนียาจารย์
พิธีปฐมนิเทศ โครงการสอบตอบปัญหาธรรมะทางก้าวหน้า
ศูนย์ปฏิบัติธรรมอินโดนีเซีย ในนามสมาคมมหานิกายอินโดนีเซีย ได้จัดอบรมปฐมนิเทศ แนะนำโครงการสอบตอบปัญหาธรรมะทางก้าวหน้าภาคภาษาอินโดนีเซีย ปีที่ 2
ขอเรียนเชิญทุกท่านร่วมงานตักบาตรย้อนวันวาน ปีที่ 2
ขอเรียนเชิญคุณแม่ และครอบครัวทุกท่าน ร่วมงานตักบาตรย้อนวันวาน ปีที่ 2 ในวันอาทิตย์ที่ 13 สิงหาคม 2560 ณ หมู่บ้านบรรลุธรรม ข้างอาคารจอดรถ 2 - 3 วัดพระธรรมกาย เวลา 06.30 น.
เจ้าภาพร่วมบุญโครงการธุดงค์ธรรมชัยปีที่2
กัลฯ สมิตา พะลานุกูลและครอบครัว ขอร่วมบุญน้ำดื่ม จำนวน 100,000 ขวด ครีมกันแดด 30,000 หลอด และมัสเซลครีม แก้ปวดเมื่อย 30,000 หลอด ในโครงการธุดงค์ธรรมชัยฯปีนี้
ธุดงค์ธรรมชัย ... การเห็นสมณะเป็นมงคลอย่างยิ่ง
สมณะแปลตรงตัวได้ว่า ผู้สงบ (หมายถึงผู้อยู่ในสมณเพศ) คุณสมบัติของสมณะประกอบด้วย 3 อย่างคือ 1.สงบกาย คือมีความสำรวมในการกระทำทุกอย่าง รวมถึงกิริยา มรรยาท ตามหลักศีลธรรม ... 2.สงบวาจา คือการพูดจาให้อยู่ในกรอบของความพอดี มีความสุภาพสงบเสงี่ยมในคำพูดและภาษาที่ใช้ เป็นไปตามข้อปฏิบัติ ประเพณี ... 3.สงบใจ คือการทำใจให้สงบปราศจากกิเลสครอบงำ ไม่ว่าจะเป็น โลภ โกรธ หลง หรือความพยาบาทใดๆ ตั้งมั่นอยู่ในสมาธิภาวนา
โครงการอุปสมบทหมู่ 100,000 รูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย (ภาคฤดูร้อน) ประจำปี พ.ศ. 2559
โครงการอุปสมบทหมู่ 100,000 รูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย (ภาคฤดูร้อน) ประจำปี พ.ศ. 2559 วันที่ 20 มีนาคม - 14 พฤษภาคม พ.ศ.2559 (รวม 56 วัน) รับสมัครบวชตั้งแต่วันนี้ - 20 มีนาคม พ.ศ. 2559
ชี้ “ธุดงค์ธรรมชัย” ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา
พระมหาเถระ-ราชการ-ประชาชน ปลื้ม!! ชี้ “ธุดงค์ธรรมชัย” ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น